ต้องการต่อประกันต่างๆ เช่น ประกันชีวิตลดหย่อนภาษี ประกันรถยนต์ชั้น 1 และประกันอุบัติเหตุล่าสุด

ประกันอุบัติออมสินสมัครวันนี้ผ่าน Mymo

อายุรับประกัน

ถึง ระหว่าง 1 เดือน-60 ปี

ระยะคุ้มครอง

ถึง จนถึงอายุ 90 ปี

อายุ

ประกันชีวิต axa มีหลากหลายแผนให้เลือก

อายุรับประกัน

ถึง ระหว่าง 1 เดือน-70 ปี

ระยะคุ้มครอง

ถึง จนถึงอายุ 90 ปี

อายุ

ประกันภัยธนาคารออมสิน ทำง่ายๆ รับสิทธิ์ทันที

อายุรับประกัน

ถึง ระหว่าง 20-69 ปี

ระยะคุ้มครอง

ถึง 2 ปี (ต่อเวลาได้)

อายุ

บริษัทกรุงเทพประกันภัยเปิดให้บริการทั่วไทย

อายุรับประกัน

ถึง รับรถอายุ 2-20 ปี

ระยะคุ้มครอง

ถึง 1 ปี (ต่อเวลาได้)

อายุ

ประกันอุบัติเหตุวิริยะ ทำง่ายๆ ราคาถูก

อายุรับประกัน

ถึง รับรถอายุ 2-20 ปี

ระยะคุ้มครอง

ถึง 1 ปี (ต่อเวลาได้)

อายุ

ประกันไทยพาณิชย์ชีวิตดีๆ ที่มีประกัน

อายุรับประกัน

ถึง ระหว่าง 20-75 ปี

ระยะคุ้มครอง

ถึง 1 ปี (ต่อเวลาได้)

อายุ

ประกัน aia สุขภาพให้วงเงินหลักล้าน

อายุรับประกัน

ถึง ระหว่าง 18-75 ปี

ระยะคุ้มครอง

ถึง จนถึงอายุ 85 ปี

อายุ

ประกันชับบ์สามัคคีฟรีค่าปรึกษาก่อนทำประกัน

อายุรับประกัน

ถึง ขึ้นอยู่กับแผนประกัน

ระยะคุ้มครอง

ถึง ขึ้นอยู่กับแผนประกัน

อายุ

บริษัทประกัน fwd คุ้มครองยาวนาน

อายุรับประกัน

ถึง ระหว่าง 20-65 ปี

ระยะคุ้มครอง

ถึง จนถึงอายุ 90 ปี

อายุ

ประกันอุบัติเหตุเด็ก พร้อมดูแลบุตรหลาน

อายุรับประกัน

ถึง ขึ้นอยู่กับแผนประกัน

ระยะคุ้มครอง

ถึง ขึ้นอยู่กับแผนประกัน

อายุ

ประกันทิพยประกันภัย ให้เงินคุ้มครองสูง

อายุรับประกัน

ถึง ระหว่าง 15-60 ปี

ระยะคุ้มครอง

ถึง 1 ปี (ต่อเวลาได้)

อายุ

บริษัทไทยสมุทรประกันชีวิต หนึ่งในประกันมาแรง

อายุรับประกัน

ถึง ขึ้นอยู่กับแผนประกัน

ระยะคุ้มครอง

ถึง ขึ้นอยู่กับแผนประกัน

อายุ

ประกัน สิ่งสำคัญที่ใครหลายคนมองข้าม

ประกันชีวิต คือผลิตภัณฑ์ที่หลายคนหันหน้าหนีเมื่อได้ยินชื่อหรือคนใกล้ชิดกล่าวถึง ด้วยกลัวจะถูกชักชวนให้ทำ โดยคิดว่าการทำประกันนั้นคือการหลอกให้เสียเงินไปฟรีๆ แล้วจะมีสักกี่คนเล่าที่รู้ถึงความดีของประกันว่า แท้จริงแล้วประกันคืออะไร มีดีอย่างไร และมีความสำคัญอย่างไร เหตุใดคนที่ศึกษามาอย่างแท้จริงจึงกล่าวว่าควรจะทำประกันเอาไว้เพื่ออนาคตและเป็นเงินให้แก่คนข้างหลังได้ ครั้งนี้เราจะพาท่านผู้อ่านไปทำความรู้จักับ “ประกัน”  ผลิตภัณฑ์ที่หลายคนมาคิดถึงยามเกิดเหตุการณ์ที่สายไปแล้ว

ประกัน คืออะไร 

หลายคนยังเข้าใจผิดว่าถูกหลอกให้ทำประกัน ทั้งที่จริงแล้ว การทำประกันชีวิตคือการดูแลอนาคตของตัวเอง

ประกันคือ การบริหารความเสี่ยงภัยรูปแบบหนึ่ง ที่จะช่วยลดความเสี่ยงภัยหรือลดภาระค่าใช้จ่ายลงหากเกิดสิ่งที่ไม่คาดฝันขึ้น ซึ่งบริษัทประกันจะช่วยชำระหรือชดเชยค่าสินไหมทดแทนที่ได้รับความคุ้มครองหากเกิดอุบัติเหตุ ป่วย หรือเกิดความเสียหายอื่นใดก็ตามแต่ที่ตกลงกันเอาไว้กับผู้เอาประกันภัยโดยอิงจากกรมธรรม์ประกันโดยผู้เอาประกันอุบัติเหตุออนไลน์จะต้องชำระเบี้ยประกันตามกำหนดระยะเวลา แลกกับการได้รับความคุ้มครองจากบริษัทตามที่ตกลงกันเอาไว้

ประกัน มีกี่ประเภทกัน

ตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์แบ่งประเภทประกันออกเป็น 2 ประกัน คือการประกันชีวิต (Life Insurance) และการประกันวินาศภัย (Non-Life Insurance) ซึ่งจะแบ่งกันดังนี้

  1. การประกันชีวิต (Life Insurance) เป็นการประกันภัยที่เกี่ยวข้องกับความเสียหายส่วนบุคคล แบ่งเป็น 3 แผน คือ
  • การประกันชีวิต ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นการประกันออมทรัพย์และได้รับความคุ้มครองชีวิต
  • การประกันอุบัติเหตุ เป็นการคุ้มครองในกรณีประสบอุบัติเหตุหรือได้รับบาดเจ็บ
  • การประกันสุขภาพ ส่วนใหญ่จะเป็นการคุ้มครองในกรณีเจอโรคภัยที่ตรงกับที่ตกลงกันเอาไว้
  1. การประกันวินาศภัย (Non-Life Insurance) เป็นการทำประกันที่บริษัทจะทำสัญญายินยอมที่จะชดใช้ค่าสินไหมหรือเงินให้กับผู้เอาประกันภัย หากเกิดความเสียหายเกี่ยวกับทรัพย์สินที่ทำประกันแบ่งเป็น 4 แผน คือ
    • การประกันอุบัติเหตุจากอัคคีภัย การทำประกันทรัพย์สินที่ให้ความคุ้มครองแบบ “ระบุภัย” หมายถึง ให้ความคุ้มครองแก่ทรัพย์สินที่เอาประกันภัยอันเนื่องมาจากภัยที่ระบุไว้เท่านั้น
    • การประกันชีวิตทางทะเลและขนส่ง เป็นการคุ้มครองความเสียหายที่เกิดขึ้นบนเรือรวมถึงทรัพย์สิน สินค้าที่อยู่ในระหว่างการขนส่ง ไม่ว่าจะเป็นทางทะเล ทางอากาศ ทางบก หรือทางรถไฟ 
  • การทําประกันรถยนต์ชั้น 1 เป็นการคุ้มครองความเสียหายที่เกิดขึ้นกับยานพาหนะ รวมไปถึงการคุ้มครองตัวบุคคล และทรัพย์สินด้วย

การทำประกันเบ็ดเตล็ด การประกันภัยที่ให้ความคุ้มครองต่อความสูญเสียและความเสียหายอันเนื่องมาจากภัยอื่นๆ ที่อยู่นอกเหนือจากความคุ้มครองของประกันทั้ง 3 ที่กล่าวถึงไปเบื้องต้น

ประกัน สิ่งที่ต้องรู้ก่อนทำประกัน

หลายครั้งเราอาจจะเคยได้ยินว่าประกันทำให้ต้องทิ้งเงินไปฟรีๆ ทั้งที่จริงแล้ว การที่จะทำประกันชีวิต คุณต้องรับรู้ถึงข้อจำกัด และความจำเป็นเสียก่อน เชื่อหรือไม่ หากคุณมีประกันกลุ่มที่เป็นสวัสดิการของบริษัทอยู่แล้ว คุณก็ไม่จำเป็นที่จะต้องทำประกันที่ครอบคลุมอุบัติเหตุหรือโรคเดิมให้ซ้ำซ้อน หรืออาจจะเลือกทำแต่ประกันออมทรัพย์ก็ยังได้ นั่นจะทำให้คุณลดภาระค่าเบี้ยลงไปได้อีก และหลายครั้งที่ผู้เอาประกันลืมคำนวณค่าใช้จ่ายให้ดี ทั้งที่จริงแล้วหากคุณทราบรายรับและค่าใช้จ่ายคร่าวๆจะทราบได้เลยว่า สามารถชำระไหวที่เท่าไหร่ นั่นจึงจะทำให้สามารถชำระได้ตามเงื่อนไขของประกันแบบออมทรัพย์ ไม่เสียเงินฟรี หากมีการวางแผนมาอย่างดี

ประกัน กับหลายสิ่งที่คนยังเข้าใจผิด

สิ่งที่ต้องรู้ในการทำประกันคือการออม“ระยะยาว” หลายท่านอาจจะยังมีข้อเข้าใจผิดบางประการที่ต้องทำความเข้าใจ เพราะการทำประกันนั้น ส่วนใหญ่กรมธรรม์ประกันจะมีสัญญาที่ค่อนข้างยาวนาน เช่น ชำระเบี้ยประกัน 5 ปี แต่ต้องฝากให้ครบ 20 ปี ถึงจะถอนออกมาได้ บางท่านที่ใจร้อนและไม่อ่านสัญญาหรือเงื่อนไขให้ดีเสียก่อนจึงคิดว่าโดนหลอก อีกทั้งยังเวนคืนกรมธรรม์ก่อนกำหนด หรือยกเลิกสัญญาไปเสียก่อน ทำให้จำนวนเงินที่เวนคืนก็อาจจะถูกหักไปส่วนหนึ่ง และเมื่อสัญญาจะสิ้นสุดและไม่สามารถขอลดหย่อนภาษีสำหรับกรมธรรม์ประกันฉบับนั้นได้อีกด้วย 

ประกัน มีข้อดีอย่างไร

การทำประกันนั้น มีข้อดีในกรณีเกิดสิ่งที่ไม่คาดฝัน อาทิ อุบัติเหตุ ป่วย ก็สามารถช่วยในเรื่องค่ารักษาพยาบาลได้ในระดับหนึ่ง ทำให้ไม่ต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่ายทั้งหมด อีกทั้งประกันเป็นเหมือนตัวลดความเสี่ยงลง และมีเงินเก็บให้แก่คนรุ่นหลัง หรือให้ตนเองได้ใช้ในวัยชราโดยไม่ต้องลำบากใคร และที่สำคัญที่ใครหลายคนอาจไม่เคยทราบมาก่อน คือประกันชีวิตหรือประกันออมทรัพย์ยังสามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้อีกด้วย หากได้รับการคุ้มครองเกิน 10 ปีขึ้นไป ผู้ที่มีรายได้เยอะบางคนจึงวางแผนการทำประกันอย่างชาญฉลาด โดยเลือกทำประกันไว้เพื่อให้ได้ประโยชน์ถึง 3 ต่อ นั่นคือ คุ้มครองชีวิต ออมเงินไว้ใช้ และใช้ประกันบํานาญลดหย่อนภาษีนั่นเอง

สมัยนี้การหาความรู้เรื่องประกันนั้นมีหลากหลายช่องทาง ไม่ว่าจะเป็นบนโลกออนไลน์หรือการสอบถามกับตัวแทนประกันที่คุณไว้ใจ ซึ่งคุณสามารถเลือกหาความรู้ได้เลย แต่เชื่อเถอะว่าการทำประกันนั้นมีประโยชน์กว่าที่คุณคิด เพราะได้ทั้งออมเงิน ทั้งยังได้รับการคุ้มครองอีก อย่างน้อยถ้าเกิดอะไรขึ้นก็อุ่นใจเพราะมีบริษัทประกันช่วยจ่ายค่าทดแทนสินไหม เพราะอย่าลืมเชียวว่า เตียงที่แพงที่สุด คือเตียงที่โรงพยาบาลนั่นเอง

เกร็ดความรู้